07
มกร
ISC WebCoop
การใช้ Data Window .NET กับ database โดยตรง

ขั้นตอนการติดตั้งเพื่อใช้งาน
เพื่อให้ Microsoft Visual Studio สามารถเรียกใช้ Data window ได้จะต้องติดตั้ง DOTNetSDK 2.0 และ DataWindow.NET ตามลำดับ
หัวข้อหลัก
A.การใช้ Data Window ติดต่อกับ database โดยตรง
B.การใช้ Data Window ติดต่อกับเว็บเซอร์วิส

 A. การใช้ Data Window ติดต่อกับ database โดยตรง
1 สร้าง Data Window ขึ้นมาผ่านทางโปรแกรม Data Window Design 2.1
1.1 สร้างโปรเจกต์ใหม่ไปที่ File > New > Project เลือก Project กด OK แล้วจะมีหน้าต่างใส่ที่อยู่ของโปรเจกต์ กด Fisnish

1.2 สร้าง Data window ใหม่ ไปที่ File > New > แทบ data window จากตัวอย่างเลือกแบบกริด แล้ว OK


เลือกข้อมูลแหล่งที่มาเป็น SQL Select กด Next
การใช้งานเหมือน Data Window ใน PB

1.3 เลือกข้อมูลที่จะให้แสดง Data window ตัวอย่างเลือกตาราง amsecwin กด Open

เลือกฟิวด์ ตัวอย่างเป็น ... ดังรูป

กำหนดให้ parameter เป็น application ไปที่เมนู Design > retrieval argument ตั้งชื่อตัวแปรและใส่ชนิดตัวแปร กด OK
ใส่เงื่อนไขในแทป where
แล้วกดปุ่ม returnจากนั้นก็กด Next ไปขั้นตอนเซตค่า data window และ Finish เป็นเสร็จสิ้น
1.4 ออกแบบหน้าต่าง data window และทดสอบ retrieve ข้อมูล อย่าลืม บันทึก data window

2.สร้างโปรเจ็กต์เว็บแอปเพื่อเรียกใช้ data window
2.1 สร้างโปรเจกต์เว็ปแอปไปที่ File > New project เลือกเป็น Visual C# > web > ASP .NET Web Application


2.2 Add Data window โดยคลิกขวาโปรเจก > Add > Existing Items… เอาไฟล์ datawindow.pbl ที่สร้างไว้ในข้อ 1 มาใส่

จากตัวอย่างแก้ไขชื่อ Data window Object เป็น dw_amsecwin

2.3 กำหนดค่าให้ WebDataWindowControl ที่ properties กำหนดค่า LibraryList แล้ว Add จากปุ่่มแล้วกด OK

แล้ว เลือก DataWindow Object
2.4 จะต้องเพิ่ม Library ของ Sysbase Datawindow .NET เข้าด้วย โดย Add Refernce แล้ว Browse ไปที่ ที่อยู่ แล้วเลือก dll เพื่อเขียนโปรแกรมเพื่อจัดการกับ data window



2.5 ติดต่อฐานข้อมูลโดยตั้งค่าการติดต่อฐานข้อมูลที่ส่วนของ PageLoad
using System;
using System.Collections;
using System.Configuration;
using System.Data;
using System.Linq;
using System.Web;
using System.Web.Security;
using System.Web.UI;
using System.Web.UI.HtmlControls;
using System.Web.UI.WebControls;
using System.Web.UI.WebControls.WebParts;
using System.Xml.Linq;

namespace WebApplication1
{
public partial class _Default : System.Web.UI.Page
{
//สร้างตัวแปรติดต่อฐานข้อมูล
System.ComponentModel.Container components;
Sybase.DataWindow.Transaction SQLCA;

protected void Page_Load(object sender, EventArgs e)
{
//ตั้งค่าเพื่อติดต่อฐานข้อมูล
components = new System.ComponentModel.Container();
SQLCA = new Sybase.DataWindow.Transaction(components);
// Profile scocbtch@scoth
SQLCA.Dbms = Sybase.DataWindow.DbmsType.Oracle10g;
SQLCA.Password = "scocbtch";
SQLCA.ServerName = "scoth";
SQLCA.UserId = "scocbtch";
SQLCA.AutoCommit = false;
SQLCA.DbParameter = "PBCatalogOwner='scocbtch',TableCriteria=',scocbtch'";
SQLCA.Connect();
dw_amsecwin.SetTransaction(SQLCA);
dw_amsecwin.Retrieve("admins"); //ใส่ parameter ให้กับ data window }
}
}


จากนั้นก็สามารถเรียกดูข้อมูลหน้าเว็บเพจได้เรียบร้อยแล้ว ที่ปุ่มรัน

2.6 สร้างปุ่ม button ขึ้นมา ชื่อ SAVE มี ID = Button1 เพื่อบันทึกข้อมูลที่มีการแก้ไข แก้ไข code behind ได้โดย double click ที่ปุ่มนั้นได้เลย หรือถ้าเป็น action อื่นอยู่ที่การตั้งค่า
จะมี method ที่สร้างขึ้นมาให้ใส่โค้ดเพื่ออัปเดตดังนี้
protected void Button1_Click(object sender, EventArgs e)
{
//ปุ่ม SAVE ทำการบันทึกข้อมูล
dw_amsecwin.UpdateData();
SQLCA.Commit();
}
ทดลองรันก็จะสามารถแก้ไขและบันทึกข้อมูลได้แล้ว ... :D
ป้ายกำกับ:
0 Responses

แสดงความคิดเห็น

Related Posts Plugin for WordPress, Blogger...